วิชาป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ชั้นปีที่ 5 (หญิง) - ร.อ.นรินทร์ ใจบุญ

จาก ส่วนการศึกษา ศฝ.นศท.มทบ.21
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา

แผนบทเรียน วิชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ชั้นปีที่ 5 (ชาย) ปีการศึกษา 2566

เรื่อง

1. หลักการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า
2. หลักการใช้สารเคมีและก๊าซหุงต้ม
3. หลักการใช้ยานพาหนะ

วิชา การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

ชั่วโมงสอนทั้งสิ้น 4 ชั่วโมง

หลักสูตร นศท. ชั้นปีที่ 5 (ชาย)

วิธีการสอน สด./ป.

ครู/อาจารย์

  1. ร.อ.นรินทร์ ใจบุญ

ครูผู้ช่วย

1.

2.

การจัดการสอน

การสอนครั้งที่ วัน เดือน ปี เวลาที่สอน สถานที่สอน จำนวนนักเรียน ครูผู้สอน ครูผู้ช่วย/ผู้ช่วยครู
1


1-3 พ.ย.66


[- 1700|0800 - 1700] มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี


ร.อ.นรินทร์ ใจบุญ


1.

2.

หลักฐานที่ใช้สอน

1. คู่มือนักศึกษาวิชาทหารชาย ชั้นปีที่ 5
2. คู่มือประชาชนในการเตรียมตัวให้รอด ปลอดภัยพิบัติ พ.ศ.2560 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย

สื่อการเรียนการสอน/เครื่องช่วยฝึก

1. เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมอุปกรณ์ ประกอบการเรียนการสอน PowerPoint
2. ครื่องฉายภาพโปรเจ้คเตอร์ พร้อมจอ


การแต่งกาย ชุดฝึก

ความมุ่งหมาย

1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจและใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าอย่างถูกวิธี ช่วยชีวิตรอดปลอดภัย เรียนรู้ ป้องกัน รู้ทันในการปฏิบัติตนเมื่อเกิดเพลิงไหม้
2.เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจหลักการใช้ จัดเก็บ รักษา การรั่วไหล การทำลาย การหลบหนีภัย การช่วยเหลือเบื้องต้นจากสารเคมี และก๊าซหุงต้ม
3. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจถึงหลักการใช้ยานพาหนะต่างๆ รวมถึงการใช้อุปกรณ์นิรภัยอย่างถูกวิธี การตรวจสภาพความพร้อมของรถและคนขับ รวมถึงเส้นทาง การปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน และการเรียนรู้เกี่ยวกับป้ายสัญญาณจราจรได้อย่างถูกต้อง

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. (ความรู้ : K) หลังจากเข้ารับการอบรมแล้ว นศท. มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าอย่างถูกวิธี ,เข้าใจหลักการใช้ จัดเก็บ รักษา การรั่วไหล การทำลาย การหลบหนีภัย การช่วยเหลือเบื้องต้นจากสารเคมี และก๊าซหุงต้ม และเข้าใจถึงหลักการใช้ยานพาหนะต่างๆ รวมถึงการใช้อุปกรณ์นิรภัยอย่างถูกวิธี
2. (ทักษะ : P) หลังจากเข้ารับการอบรมแล้ว นศท. สามารถช่วยชีวิตรอดปลอดภัย เรียนรู้ ป้องกัน รู้ทันในการปฏิบัติตนเมื่อเกิดเพลิงไหม้ ,เข้าใจหลักการปฏิบัติจากสารเคมี และก๊าซหุงต้ม รวมถึงมีความเข้าใจและปฏิบัติตนอย่างถูกวิธีเมื่อต้องใช้ยานพาหนะได้อย่างถูกต้อง
3. (จิตใจ : A) หลังจากเข้ารับการอบรมแล้ว นศท. มีความตระหนักรู้ถึงความสำคัญของการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า การใช้สารเคมี และก๊าซหุงต้ม รวมถึงการใช้ยานพาหนะชนิดต่างๆในชีวิตประจำวัน ได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
หัวข้อการสอน
ชั่วโมงการสอน เรื่องที่ทำการสอน วิธีการสอน เวลา (นาที) หมายเหตุ
ชั่วโมงที่ 1 1. กล่าวนำ แนะนำตัว นำเข้าสู่บทเรียน 5
2. ทำแบบทดสอบก่อนเรียน 15
3. กล่าวนำเข้าสู่บทเรียน กล่าวทั่วไป

- การใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าอย่างถูกวิธี

- การปฏิบัติเมื่อเกิดไฟฟ้ารั่ว

- การปฏิบัติตนเมื่อเกิดอัคคีภัย

(30 นาที)

10

10

10

4. พักประจำชั่วโมง 10
ชั่วโมงที่ 2 1. การจัดเก็บ รักษา และทำลายสารเคมีและก๊าซหุงต้ม

2. การปฏิบัติเมื่อเกิดการรั่วไหลจากสารเคมีและก๊าซหุงต้ม

3. การช่วยเหลือเบื้องต้นผู้ได้รับสารเคมีเข้าร่างกาย

(50 นาที)


4. พักประจำชั่วโมง 10
ชั่วโมงที่ 3 1. หลักการใช้ยานพาหนะ

2. การปฏิบัติเมื่อเกิเหตุฉุกเฉิน

3. การเรียนรู้เกี่ยวกับป้ายสัญญาณจราจร

(50 นาที)


2. พักประจำชั่วโมง 10
ชั่วโมงที่ 4 1. จัดแบ่งกลุ่ม นศท.เพื่อนำเสนอตามหัวข้อตามบทเรียน

(Active learning)

2. ทดสอบหลังเรียน

3. สรุปทบทวนหลังเรียน

25


15

10

2. พักประจำชั่วโมง 10


เอกสาร/คู่มือ/ตำราประกอบการสอน

1. แบบทดสอบก่อนเรียน (PDF บันทึกไว้ใน Google Drive)
2. แบบทดสอบหลังเรียน (PDF บันทึกไว้ใน Google Drive)
3. เอกสารตำรา นศท. (PDF บันทึกไว้ใน Google Drive)
4. สื่อการสอน Power point วิชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย นศท.ชั้นปีที่ 5 (PDF บันทึกไว้ใน Google Drive)
5. สื่อการสอน VDO วิชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย นศท.ชั้นปีที่ 5 (VDO บันทึกไว้ใน Google Drive)
บันทึกการสอนของครูผู้สอน
การสอนครั้งที่ ปัญหาข้อขัดข้อง ข้อเสนอแนะ ผู้บันทึก
1
2
3
4
5