ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิชาการอ่านแผนที่และการใช้เข็มทิศ ชั้นปีที่ 3 - ร.ท.ธวัชขัย แก้วอุดร"

จาก ส่วนการศึกษา ศฝ.นศท.มทบ.21
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
บรรทัดที่ 8: บรรทัดที่ 8:
 
: 2. เข็มทิศเลนเซติกและการใช้
 
: 2. เข็มทิศเลนเซติกและการใช้
 
: 3. การกำหนดจุดที่อยู่ของตนเองลงบนแผนที่ โดยใช้เข็มทิศและเครื่องวัดมุม
 
: 3. การกำหนดจุดที่อยู่ของตนเองลงบนแผนที่ โดยใช้เข็มทิศและเครื่องวัดมุม
 
+
[[ไฟล์:54383.jpg|thumb|แผนที่ประกอบการฝึก]]
 
'''วิชา''' การอ่านแผนที่และการใช้เข็มทิศ
 
'''วิชา''' การอ่านแผนที่และการใช้เข็มทิศ
  

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:28, 21 มิถุนายน 2566


แผนบทเรียน วิชาการอ่านแผนที่และการใช้เข็มทิศ ชั้นปีที่ 3 ปีการศึกษา 2566

เรื่อง

1.ทิศทางและมุมภาคของทิศเหนือ
2. เข็มทิศเลนเซติกและการใช้
3. การกำหนดจุดที่อยู่ของตนเองลงบนแผนที่ โดยใช้เข็มทิศและเครื่องวัดมุม
แผนที่ประกอบการฝึก

วิชา การอ่านแผนที่และการใช้เข็มทิศ

ชั่วโมงสอนทั้งสิ้น 4 ชั่วโมง

หลักสูตร นศท. ชั้นปีที่ 3

วิธีการสอน สด./ป.

ครู/อาจารย์

1.ร.ท.ธวัชชัย     แก้วอุดร

2.ร.ท.อุดร        เรืองจันทึก

3.ร.ท.พินิจ       สุขมาก

ครูผู้ช่วย

1.จ.ส.อ.ศักดิ์สุดา         จินดาภู

2.จ.ส.อ.กิตติศักดิ์         สุขจันทร์

3.จ.ส.อ.จักรกฤช          จาดขำ

4.จ.ส.ท.หญิงศรารัตน์    ขวัญประกอบ

5.จ.ส.ต.ชยวิชญ์           ศรีผดุง

6.ส.ท.ธนพล               มีบาง

การจัดการสอน

การสอนครั้งที่ วัน เดือน ปี เวลาที่สอน สถานที่สอน จำนวนนักเรียน ครูผู้สอน ครูผู้ช่วย/ผู้ช่วยครู
1 1-3 พ.ย.66 0800 - 1200] มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ร.ท.ธวัชชัย แก้วอุดร จ.ส.อ.กิตติศักดิ์ สุขจันทร์

จ.ส.ต.ชยวิชญ์ ศรีผดุง

หลักฐานที่ใช้สอน

1. คู่มือนักศึกษาวิชาทหาร ชั้นปีที่ 3

สื่อการเรียนการสอน/เครื่องช่วยฝึก

1. เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมอุปกรณ์ ประกอบการเรียนการสอน เพาเวอร์พอยท์
2. ครื่องฉายภาพโปรเจ้คเตอร์ พร้อมจอ
3. โทรศัพท์มือถือ/แทบเล็ต ( ดาว์โหลดแอปพิเคชั่นได้ที่ www.tdc.mi.th/pdf/AR/Handbook_AR_NST_3.pdf )
4. แผนที่ มาตรส่วน 1 : 50000
5. เข็มทิศเลนเซติก

การแต่งกาย ชุดฝึก

ความมุ่งหมาย

1. เพื่อให้ นศท.ทุกนายมีความรู้ในเรื่องต่างๆ บนแผนที่ และเข็มทิศเลนเซติก
2. เพื่อให้ นศท.ทุกนายสามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้องเกี่ยวกับการใช้แผนที่และเข็มทิศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. เพื่อให้ นศท.ทุกนายสามารถใช้ความรู้ หรือหลักการต่าง ๆ ที่ได้รับการฝึกมาแล้ว นำไปช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นได้ในยามคับขัน

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. (ความรู้ : K) นักศึกษาวิชาทหารทุกนายมีความรู้เกี่ยวสัญลักษณ์ต่างๆ บนแผนที่และเข็มทิศ
2. (ทักษะ : P) นักศึกษาวิชาทหารทุกนาย สามารถปฏิบัติในการหาจุดที่อยู่ตนเองได้อย่างถูกต้องจากการใช้แผนที่ประกอบเข็มทิศ
3. (จิตใจ : A) นักศึกษาวิชาทหารทุกนายมีทัศนคติที่ดีต่อหน่วยงานทหารและสถานศึกษาของตนเอง
หัวข้อการสอน
ชั่วโมงการสอน เรื่องที่ทำการสอน วิธีการสอน เวลา (นาที) หมายเหตุ
ชั่วโมงที่ 1 1. กล่าวนำ แนะนำตัว แจ้งวัตถุประสงค์ และวิธีการสอน

- กล่าวนำ แนะนำตัว

- แจ้งวัตถุประสงค์ และวิธีการสอน

- การทดสอบก่อนการเรียน

(20 นาที)

5

5

10

2. ทิศทางและมุมภาคทิศเหนือ

- ทิศทางหลัก/ทิศทางมุม

- มุมภาคทิศเหนือกลับ

- การวัดมุมภาคทิศเหนือบนแผนที่

- มุมกริดแม่เหล็ก (มุม ก – ม )

(30 นาที)

5

5

10

10



3. พักประจำชั่วโมง 10
ชั่วโมงที่ 2 1.เข็มทิศเลนเซติกและการใช้

- ลักษณะของเข็มทิศเลนเซติก

- การจับเข็มทิศและการวัดมุมภาคทิศเหนือ

- การเดินทางตามมุมภาคทิศเหนือที่กำหนด

- การตั้งเข็มทิศเพื่อใช้งานในเวลากลางคืน

- การเดินทางอ้อมเครื่องกีดขวางหรือข้าศึก

(50 นาที)

5

5

5

5

5

-การใช้เข็มทิศวัดมุมภาคทิศเหนือบนแผนที่

-ข้อควรระวังในการใช้และเก็บรักษาเข็มทิศ

10

5

-การกะระยะทางในสนาม 10
2. พักประจำชั่วโมง 10
ชั่วโมงที่ 3 1. การกำหนดจุดที่อยู่ของตนเองลงบนแผนที่ โดยใช้เข็มทิศและเครื่องวัดมุม

- การเล็งสกัดกลับ

- การเล็งสกัดประกอบแนว

- การเล็งสกัดกลับโดยวิธีเป้าหมายตำบลระเบิด

2.การกำหนดจุดที่หมายลงบนแผนที่โดยใช้เข็มทิศและเครื่องมือวัดมุม

- วิธีโปล่า

- วิธีเล็งสกัดตรง

(50 นาที)
5

10

10


15

10

2. พักประจำชั่วโมง 10
ชั่วโมงที่ 4 1. สรุปเน้นย้ำ 5
3. สรุปทบทวน 10
4. การประเมินผล 35
2. พักประจำชั่วโมง 10

เอกสาร/คู่มือ/ตำราประกอบการสอน

1.คู่มือนักศึกษาวิชาทหาร ประจำปี 2566

2.แอปพิเคชั่นได้ที่ www.tdc.mi.th/pdf/AR/Handbook_AR_NST_3.pdf

3.แผ่นภาพเครื่องช่วยฝึก

4.

ปัญหาข้อข้องและข้อเสนอแนะ
ปีการศึกษา ปัญหาข้อขัดข้อง ข้อเสนอแนะ ผู้บันทึก
2566
2567
2568
2569
2570
หัวข้อการสอน
ชั่วโมงการสอน เรื่องที่ทำการสอน วิธีการสอน เวลา (นาที) หมายเหตุ
ชั่วโมงที่ 1 1. กล่าวนำ แนะนำตัว แจ้งวัตถุประสงค์ และวิธีการสอน

- กล่าวนำ แนะนำตัว

- แจ้งวัตถุประสงค์ และวิธีการสอน

(15 นาที)

5

10

1.รด.จิตอาสา ( ชั้นปีที่ 1 -5 )

- บทบาทและความสำคัญของนักศึกษาวิชาทหาร ต่อความมั่นคงของชาติ

- ฝึกอบรมหลักสูตรนักศึกษาวิชาทหารบรรเทาสาธารณภัย หลักสูตร นักศึกษา วิชาทหารจราจร และหลักสูตรนักศึกษาวิชาทหารพยาบาล เป็นต้น ให้พร้อมสำหรับการ ช่วยเหลือประชาชน

- อบรมการเป็นพลเมืองคุณภาพ

(35 นาที)

5

10

20

2. พักประจำชั่วโมง 10
ชั่วโมงที่ 2 1. การใช้งานนักศึกษาวิชาทหาร (5 กลุ่มงาน) (ต.ค.65 – ก.ย.66)

- การเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ เช่น กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติพระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศานุวงศ์ กิจกรรมปกป้องการล่วงละเมิดสถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นต้น

- งานช่วยเหลือสังคมตามขีดความสามารถของ นศท. (รด.จิตอาสา) เช่น กิจกรรมบำเพ็ญสาธารณประโยชน์สถานที่สำคัญ โบราณสถาน วัด ชุมชน การช่วยเหลือด้านการจราจร (รด.จิตอาสาจราจร) เป็นต้น

- งานการบรรเทาสาธารณภัย เช่น การช่วยเหลือผู้ประสบภัย  น้ำท่วม เป็นต้น โดยใช้ รด.จิตอาสา ที่ฝึกอบรมแล้ว ลงพื้นที่ปฏิบัติงานหรือร่วมกับหน่วยอื่น ๆ ทั้งนี้ต้องเป็นงานที่อยู่ใน

ขีดความสามารถ และปลอดภัย

-งานสร้างการรับรู้ : พลเมืองคุณภาพ โดยให้มีการอบรม รด.จิตอาสา ให้มีความรู้และมีข้อมูลที่ถูกต้องก่อนนำไปขยายผล ส่สถานศึกษา ชุมชน ทั้งนี้ รด.จิตอาสา

-งานสร้างความปรองดองสมานฉันท์ : โดย รด.จิตอาสา จัดกิจกรรมขึ้นเอง ตามแนวความคิด หรือการเข้าร่วมกับ ชป.มวลชน ของหน่วยทหารที่รับผิดชอบพื้นที่ หรือการให้ความร่วมมือศูนย์ปรองดองสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูป (ศปป.)

(50 นาที)
2. พักประจำชั่วโมง 10
ชั่วโมงที่ 3 1.การจัดตั้งองค์กร รด.จิตอาสา (ต.ค.66 – พ.ย.66)

- จัดตั้งองค์กร รด.จิตอาสา โดยเริ่มตั้งแต่การฝึกภาคปกติปีการศึกษา 2566 เป็นต้นไป

- จัดตั้งองค์กร นักศึกษาวิชาทหาร ที่เป็นรูปธรรม สามารถควบคุมได้ ติดต่อได้ใช้งานได้จริง พร้อมที่จะเป็นแกนนำปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยทหาร หรือส่วนราชการอื่นๆ ในการช่วยเหลือประชาชน การเป็นพลเมืองคุณภาพของประเทศ -  - - คัดเลือกนักศึกษาวิชาทหาร ที่มีความสมัครใจ มีจิตสาธารณะ มีความพร้อม มีความเสียสละ เป็น รด.จิตอาสา โดยกรอกใบสมัครตามแบบฟอร์ม

- จัดตั้งองค์กรนักศึกษาวิชาทหาร ตามจำนวนที่สมัครใจ ในสถานศึกษาอำเภอนั้น ๆ โดยกำหนดให้ รด.จิตอาสา 1 หมู่ มี 10 คน, 2 หมู่ เป็น 1 หมวด, 2 หมวด เป็น 1 กองร้อย

- ศฝ.นศท.มทบ.21  จัดครูฝึกเป็นที่ปรึกษา และผู้ประสานงาน โดยเฉพาะการประสานงานกับอำเภอ ในการปฏิบัติงานร่วมกัน โดยจัดตั้ง บก.ควบคุม รด.จิตอาสา ขึ้น

- จัดตั้งข่ายการติดต่อสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ และประหยัด รวดเร็ว เช่น ไลน์ (Line) เฟสบุ๊ค (Facebook) เป็นต้น โดยสัสดีเขต/อำเภอ จัดตั้ง บก.ควบคุม รด.จิตอาสา อำเภอ เพื่อ

ควบคุมทางบัญชี รด.จิตอาสา ในความรับผิดชอบ

(50 นาที)

5

5

10

10

10

10

2. พักประจำชั่วโมง 10
ชั่วโมงที่ 4 1. สรุป 5
2. การค้นหาข้อมูลที่ได้รับแบ่งมอบและบรรยายหน้าชั้นเรียนของ นศท. 40
3. สรุปทบทวน 5
4. การประเมินผลจากการบรรยายของ นศท. 10

เอกสาร/คู่มือ/ตำราประกอบการสอน

1. แบบทดสอบก่อนเรียน (PDF บันทึกไว้ใน Google Drive)
2. แบบทดสอบหลังเรียน (PDF บันทึกไว้ใน Google Drive)
3. คู่มือนักศึกษาวิชาทหาร ชั้นปีที่ 4
บันทึกการสอนของครูผู้สอน
การสอนครั้งที่ ปัญหาข้อขัดข้อง ข้อเสนอแนะ ผู้บันทึก
1
2
3
4
5