วิชาการอ่านแผนที่และการใช้เข็มทิศ ชั้นปีที่ 3 - ร.ท.ธวัชขัย แก้วอุดร

จาก ส่วนการศึกษา ศฝ.นศท.มทบ.21
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา


แผนบทเรียน วิชาการอ่านแผนที่และการใช้เข็มทิศ ชั้นปีที่ 3 ปีการศึกษา 2566

เรื่อง

1.ทิศทางและมุมภาคของทิศเหนือ
2. เข็มทิศเลนเซติกและการใช้
3. การกำหนดจุดที่อยู่ของตนเองลงบนแผนที่ โดยใช้เข็มทิศและเครื่องวัดมุม

วิชา การอ่านแผนที่และการใช้เข็มทิศ

ชั่วโมงสอนทั้งสิ้น 4 ชั่วโมง

หลักสูตร นศท. ชั้นปีที่ 4 (ชาย)

วิธีการสอน สด./ป.

ครู/อาจารย์

1.ร.ท.ธวัชชัย     แก้วอุดร

2.ร.ท.อุดร        เรืองจันทึก

3.ร.ท.พินิจ       สุขมาก

ครูผู้ช่วย

1.จ.ส.อ.ศักดิ์สุดา         จินดาภู

2.จ.ส.อ.กิตติศักดิ์         สุขจันทร์

3.จ.ส.อ.จักรกฤช          จาดขำ

4.จ.ส.ท.หญิงศรารัตน์    ขวัญประกอบ

5.จ.ส.ต.ชยวิชญ์           ศรีผดุง

6.ส.ท.ธนพล               มีบาง

การจัดการสอน

การสอนครั้งที่ วัน เดือน ปี เวลาที่สอน สถานที่สอน จำนวนนักเรียน ครูผู้สอน ครูผู้ช่วย/ผู้ช่วยครู
1 1-3 พ.ย.66 0800 - 1200] มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ร.ท.ธวัชชัย แก้วอุดร จ.ส.อ.กิตติศักดิ์ สุขจันทร์

จ.ส.ต.ชยวิชญ์ ศรีผดุง

หลักฐานที่ใช้สอน

1. คู่มือนักศึกษาวิชาทหารชาย ชั้นปีที่ 3
2.

สื่อการเรียนการสอน/เครื่องช่วยฝึก

1. เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมอุปกรณ์ ประกอบการเรียนการสอน เพาเวอร์พอยท์
2. ครื่องฉายภาพโปรเจ้คเตอร์ พร้อมจอ
3. โทรศัพท์มือถือ/แทบเล็ต ( ดาว์โหลดแอปพิเคชั่นได้ที่ www.tdc.mi.th/pdf/AR/Handbook_AR_NST_3.pdf )
4. แผนที่ มาตรส่วน 1 : 50000
5. เข็มทิศเลนเซติก

การแต่งกาย ชุดฝึก

ความมุ่งหมาย

1. เพื่อจัดตั้งองค์กร “รด.จิตอาสา” ที่มีความสมัครใจ ในทุกพื้นที่ของ จ.นครราชสีมา และ จ.ชัยภูมิ โดย    รด.จิตอาสา ต้องสามารถติดต่อได้ ควบคุมได้ และใช้งานได้
2. เพื่อใช้งาน “รด.จิตอาสา” ในการสร้างการรับรู้ และเป็นสื่อกลางประชาสัมพันธ์ การขับเคลื่อนประเทศของหน่วยงานรัฐ ตลอดจนการช่วยเหลือประชาชน ตามขีดความสามารถ
3. เพื่อปลูกจิตสำนึกความรับผิดชอบต่อสังคม และชาติบ้านเมือง ให้กับนักศึกษาวิชาทหาร และมีส่วนกระตุ้นสำนึกของคนในชาติ ให้ตระหนักถึงความมีจิตอาสา รับผิดชอบต่อส่วนรวม และบ้านเมือง

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. (ความรู้ : K) นักศึกษาวิชาทหารทุกนายมีความรู้เกี่ยวสัญลักษณ์ต่างๆ บนแผนที่และเข็มทิศ
2. (ทักษะ : P) นักศึกษาวิชาทหารทุกนาย สามารถปฏิบัติในการหาจุดที่อยู่ตนเองได้อย่างถูกต้องจากการใช้แผนที่ประกอบเข็มทิศ
3. (จิตใจ : A) นักศึกษาวิชาทหารทุกนายมีทัศนคติที่ดีต่อหน่วยงานทหารและสถานศึกษาของตนเอง
หัวข้อการสอน
ชั่วโมงการสอน เรื่องที่ทำการสอน วิธีการสอน เวลา (นาที) หมายเหตุ
ชั่วโมงที่ 1 1. กล่าวนำ แนะนำตัว แจ้งวัตถุประสงค์ และวิธีการสอน

- กล่าวนำ แนะนำตัว

- แจ้งวัตถุประสงค์ และวิธีการสอน


(15 นาที)

5

10

2. ทิศทางและมุมภาคทิศเหนือ

- ทิศทางหลัก/ทิศทางมุม

- มุมภาคทิศเหนือกลับ

- การวัดมุมภาคทิศเหนือบนแผนที่

- มุมกริดแม่เหล็ก (มุม ก – ม )

(35 นาที)

5

5

10

15



3. พักประจำชั่วโมง 10
ชั่วโมงที่ 2 1.เข็มทิศเลนเซติกและการใช้

- ลักษณะของเข็มทิศเลนเซติก

- การจับเข็มทิศและการวัดมุมภาคทิศเหนือ

- การเดินทางตามมุมภาคทิศเหนือที่กำหนด

- การตั้งเข็มทิศเพื่อใช้งานในเวลากลางคืน

- การเดินทางอ้อมเครื่องกีดขวางหรือข้าศึก

(50 นาที)

5

5

5

5

5

-การใช้เข็มทิศวัดมุมภาคทิศเหนือบนแผนที่

-ข้อควรระวังในการใช้และเก็บรักษาเข็มทิศ

10

5

-การกะระยะทางในสนาม 10
2. พักประจำชั่วโมง 10
ชั่วโมงที่ 3 1. การกำหนดจุดที่อยู่ของตนเองลงบนแผนที่ โดยใช้เข็มทิศและเครื่องวัดมุม

- การเล็งสกัดกลับ

- การเล็งสกัดประกอบแนว

- การเล็งสกัดกลับโดยวิธีเป้าหมายตำบลระเบิด

2.การกำหนดจุดที่หมายลงบนแผนที่โดยใช้เข็มทิศและเครื่องมือวัดมุม

- วิธีโปล่า

- วิธีเล็งสกัดตรง

(50 นาที)


5

10

10


15

10

2. พักประจำชั่วโมง 10
ชั่วโมงที่ 4 1. สรุปเน้นย้ำ 5
2. แยกฝึก 40
3. สรุปทบทวน 5
4. การประเมินผล 10

เอกสาร/คู่มือ/ตำราประกอบการสอน

1.คู่มือนักศึกษาวิชาทหาร ประจำปี 2566

2.แอปพิเคชั่นได้ที่ www.tdc.mi.th/pdf/AR/Handbook_AR_NST_3.pdf

3.แผ่นภาพเครื่องช่วยฝึก

4.

ปัญหาข้อข้องและข้อเสนอแนะ
ปีการศึกษา ปัญหาข้อขัดข้อง ข้อเสนอแนะ ผู้บันทึก
2566
2567
2568
2569
2570
หัวข้อการสอน
ชั่วโมงการสอน เรื่องที่ทำการสอน วิธีการสอน เวลา (นาที) หมายเหตุ
ชั่วโมงที่ 1 1. กล่าวนำ แนะนำตัว แจ้งวัตถุประสงค์ และวิธีการสอน

- กล่าวนำ แนะนำตัว

- แจ้งวัตถุประสงค์ และวิธีการสอน

(15 นาที)

5

10

1.รด.จิตอาสา ( ชั้นปีที่ 1 -5 )

- บทบาทและความสำคัญของนักศึกษาวิชาทหาร ต่อความมั่นคงของชาติ

- ฝึกอบรมหลักสูตรนักศึกษาวิชาทหารบรรเทาสาธารณภัย หลักสูตร นักศึกษา วิชาทหารจราจร และหลักสูตรนักศึกษาวิชาทหารพยาบาล เป็นต้น ให้พร้อมสำหรับการ ช่วยเหลือประชาชน

- อบรมการเป็นพลเมืองคุณภาพ

(35 นาที)

5

10

20

2. พักประจำชั่วโมง 10
ชั่วโมงที่ 2 1. การใช้งานนักศึกษาวิชาทหาร (5 กลุ่มงาน) (ต.ค.65 – ก.ย.66)

- การเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ เช่น กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติพระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศานุวงศ์ กิจกรรมปกป้องการล่วงละเมิดสถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นต้น

- งานช่วยเหลือสังคมตามขีดความสามารถของ นศท. (รด.จิตอาสา) เช่น กิจกรรมบำเพ็ญสาธารณประโยชน์สถานที่สำคัญ โบราณสถาน วัด ชุมชน การช่วยเหลือด้านการจราจร (รด.จิตอาสาจราจร) เป็นต้น

- งานการบรรเทาสาธารณภัย เช่น การช่วยเหลือผู้ประสบภัย  น้ำท่วม เป็นต้น โดยใช้ รด.จิตอาสา ที่ฝึกอบรมแล้ว ลงพื้นที่ปฏิบัติงานหรือร่วมกับหน่วยอื่น ๆ ทั้งนี้ต้องเป็นงานที่อยู่ใน

ขีดความสามารถ และปลอดภัย

-งานสร้างการรับรู้ : พลเมืองคุณภาพ โดยให้มีการอบรม รด.จิตอาสา ให้มีความรู้และมีข้อมูลที่ถูกต้องก่อนนำไปขยายผล ส่สถานศึกษา ชุมชน ทั้งนี้ รด.จิตอาสา

-งานสร้างความปรองดองสมานฉันท์ : โดย รด.จิตอาสา จัดกิจกรรมขึ้นเอง ตามแนวความคิด หรือการเข้าร่วมกับ ชป.มวลชน ของหน่วยทหารที่รับผิดชอบพื้นที่ หรือการให้ความร่วมมือศูนย์ปรองดองสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูป (ศปป.)

(50 นาที)
2. พักประจำชั่วโมง 10
ชั่วโมงที่ 3 1.การจัดตั้งองค์กร รด.จิตอาสา (ต.ค.66 – พ.ย.66)

- จัดตั้งองค์กร รด.จิตอาสา โดยเริ่มตั้งแต่การฝึกภาคปกติปีการศึกษา 2566 เป็นต้นไป

- จัดตั้งองค์กร นักศึกษาวิชาทหาร ที่เป็นรูปธรรม สามารถควบคุมได้ ติดต่อได้ใช้งานได้จริง พร้อมที่จะเป็นแกนนำปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยทหาร หรือส่วนราชการอื่นๆ ในการช่วยเหลือประชาชน การเป็นพลเมืองคุณภาพของประเทศ -  - - คัดเลือกนักศึกษาวิชาทหาร ที่มีความสมัครใจ มีจิตสาธารณะ มีความพร้อม มีความเสียสละ เป็น รด.จิตอาสา โดยกรอกใบสมัครตามแบบฟอร์ม

- จัดตั้งองค์กรนักศึกษาวิชาทหาร ตามจำนวนที่สมัครใจ ในสถานศึกษาอำเภอนั้น ๆ โดยกำหนดให้ รด.จิตอาสา 1 หมู่ มี 10 คน, 2 หมู่ เป็น 1 หมวด, 2 หมวด เป็น 1 กองร้อย

- ศฝ.นศท.มทบ.21  จัดครูฝึกเป็นที่ปรึกษา และผู้ประสานงาน โดยเฉพาะการประสานงานกับอำเภอ ในการปฏิบัติงานร่วมกัน โดยจัดตั้ง บก.ควบคุม รด.จิตอาสา ขึ้น

- จัดตั้งข่ายการติดต่อสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ และประหยัด รวดเร็ว เช่น ไลน์ (Line) เฟสบุ๊ค (Facebook) เป็นต้น โดยสัสดีเขต/อำเภอ จัดตั้ง บก.ควบคุม รด.จิตอาสา อำเภอ เพื่อ

ควบคุมทางบัญชี รด.จิตอาสา ในความรับผิดชอบ

(50 นาที)

5

5

10

10

10

10

2. พักประจำชั่วโมง 10
ชั่วโมงที่ 4 1. สรุป 5
2. การค้นหาข้อมูลที่ได้รับแบ่งมอบและบรรยายหน้าชั้นเรียนของ นศท. 40
3. สรุปทบทวน 5
4. การประเมินผลจากการบรรยายของ นศท. 10

เอกสาร/คู่มือ/ตำราประกอบการสอน

1. แบบทดสอบก่อนเรียน (PDF บันทึกไว้ใน Google Drive)
2. แบบทดสอบหลังเรียน (PDF บันทึกไว้ใน Google Drive)
3. คู่มือนักศึกษาวิชาทหาร ชั้นปีที่ 4
บันทึกการสอนของครูผู้สอน
การสอนครั้งที่ ปัญหาข้อขัดข้อง ข้อเสนอแนะ ผู้บันทึก
1
2
3
4
5