วิชาเหล่าทหารช่าง ชั้นปีที่ 5 (ชาย) - พ.ต.กฤตพล ชัยศรี

จาก ส่วนการศึกษา ศฝ.นศท.มทบ.21
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา


แผนบทเรียน เหล่าทหารช่าง ชั้นปีที่ 5 (ชาย) ปีการศึกษา 2566

เรื่อง

1. การระวังป้องกันหน่วย 2. ทหารช่างในการยุทธด้วยวิธีรุก 3. ทหารช่างในการยุทธด้วยวิธีรับ 4. ทหารช่างในการยุทธด้วยวิธีร่นถอย 5. ทหารช่างทําการรบอย่างทหารราบ 6. การยุทธข้ามลําน้ำ 7. การข้ามลําน้ํา

วิชา วิชายุทธวิธีของเหล่าทหารช่าง

ชั่วโมงสอนทั้งสิ้น 8 ชั่วโมง

หลักสูตร นศท. ชั้นปีที่ 5 (ชาย)

วิธีการสอน สด./สช.

ครู/อาจารย์

  1. พ.ต.กฤตพล ชัยศรี

ครูผู้ช่วย

การจัดการสอน

การสอนครั้งที่ วัน เดือน ปี เวลาที่สอน สถานที่สอน จำนวนนักเรียน ครูผู้สอน ครูผู้ช่วย/ผู้ช่วยครู
1 1-3 พ.ย.66 [- 1700|0800 - 1700] มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี พ.ต.กฤตพล ชัยศรี 1.

2.

หลักฐานที่ใช้สอน

1. คู่มือนักศึกษาวิชาทหาร ชั้นปีที่ 5

สื่อการเรียนการสอน/เครื่องช่วยฝึก

1. คู่มือนักศึกษาวิชาทหารเหล่าทหารช่าง ชั้นปีที่ ๕ ( ชาย )            
2. เครื่องฉายโปรเจคเตอร์พร้อมอุปกรณ     
3. โปรแกรม Power point พร้อม Computer และ Projector            
4. เครื่องขยายเสียงพร้อมส่วนประกอบชุด            
5. โทรศัพท์มือถือ        
6. อื่นๆ      

การแต่งกาย ชุดฝึก

ความมุ่งหมาย

เพื่อให้ นศท.ทราบ และปฏิบัติในเรื่องดังต่อไปนี้                                                        

-         ให้ นศท.ได้รู้ถึงการระวังป้องกันให้กับหน่วยของตนเอง                
-         ให้ นศท.ได้รู้ถึงทหารช่างในยุทธวิธีด้วยการรุก, การรับ, การร่นถอย ได้ถูกต้อง              
-         ให้ นศท. ได้รู้ว่าทหารช่างทําการรบได้อย่างทหารราบ
-         ให้ นศท. ได้รู้วิธีการยุทธข้ามลําน้ำและเครื่องข้ามลําน้ำว่ามีอะไรบ้างที่สนับสนุนได้                                                                                                                                                           

จุดประสงค์การเรียนรู้   เมื่อ นศท.ได้เรียนในบทเรียนเรื่องนี้ และเข้าใจดีแล้ว

-         ให้ นศท. สามารถและปฏิบัติถึงการระวังป้องกันให้กับหน่วยของตนเอง                
-         ให้ นศท. สามารถและปฏิบัติทหารช่างในยุทธวิธีด้วยการรุก, การรับ, การร่นถอย ได้ถูกต้อง              
-         ให้ นศท. สามารถและปฏิบัติและทําการรบได้อย่างทหารราบ
-         ให้ นศท. สามารถและปฏิบัติ ยุทธข้ามลําน้ำและเครื่องข้ามลําน้ำได้
หัวข้อการสอน
  1. การระวังป้องกันหน่วย                       
  2. ทหารช่างในการยุทธด้วยวิธีรุก
  3. ทหารช่างในการยุทธด้วยวิธีรับ
  4. ทหารช่างในการยุทธด้วยวิธีร่นถอย
  5. ทหารช่างทําการรบอย่างทหารราบ
  6. การยุทธข้ามลําน้ำ
  7. การข้ามลําน้ำ
  8. ข้อมูลเครื่องข้ามลําน้ำ

ขั้นตอนการสอน

ชั่วโมงการสอน เรื่องที่ทำการสอน วิธีการสอน เวลา

(นาที)

หมายเหตุ
ชั่วโมงที่ 1 เรื่อง การระวังป้องกันหน่วย สช. 60
กล่าวทั่วไป 5
- การระวังป้องกันขณะเคลื่อนที่

- การระวังป้องกันในเวลาหยุดและในที่พักแรม

- การดําเนินการ ขบวนโดยไม่มีการคุ้มครอง

- การระวังป้องกัน ณ แหล่งงาน

- การระวังป้องกันจากกองโจร

45
สรุปทบทวน 5
พักประจำชั่วโมง 10
ชั่วโมงที่ 2 เรื่อง ทหารช่างในการยุทธด้วยวิธีรุก สช. 60
กล่าวทั่วไป 5
- ทหารช่างในการเคลื่อนที่เข้าปะทะ, การเข้าตีและขยายผล

- ทหารช่างในการไล่ติดตาม, การควบคุม, การออมกําลังทหารช่าง

- การลาดตระเวนทางการช่าง

- ถนนในสนาม, การข้ามช่องว่างระยะสั้น

- การสนับสนุนข่าวกรองและแผนที่, การพรางและการลวง

- กิจเฉพาะของทหารช่างในการยุทธด้วยวิธีรุก

40
สรุปทบทวน 5
พักประจำชั่วโมง 10
ชั่วโมงที่ 3 เรื่อง ทหารช่างในการยุทธด้วยวิธีรับ สช. 60
กล่าวทั่วไป 5
- การวางกําลังสนับสนุนของทหารช่าง, ภารกิจหลักของทหารช่างในการยุทธด้วยวิธีรับ

- การให้ความช่วยเหลือจากทหารช่างนอกกองพล, การลาดตระเวน, การดัดแปลงภูมิประเทศ

- ป้อมสนาม

- ฉากขัดขวางและเครื่องกีดขวาง

- ถนนในสนามและสะพานทางยุทธวิธี

- งานช่างในพื้นที่กองหนุนบองกองพล,ภารกิจเฉพาะของทหารช่าง

40
สรุปทบทวน 5
พักประจำชั่วโมง 10

หลักฐานที่ใช้สอ้

1.      คู่มือนักศึกษาวิชาทหาร ชั้นปีที่ 5
2. คู่มือราชการสนาม 17-17 ลง 25 ม.ค. 19
บันทึกการสอนของครูผู้สอน
การสอนครั้งที่ ปัญหาข้อขัดข้อง ข้อเสนอแนะ ผู้บันทึก
1
2
3
4
5