ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิชาเหล่าทหารสื่อสาร ชั้นปีที่ 5 (ชาย) - พ.ต.กฤษณพงศ์ พงษ์พรรณา"

จาก ส่วนการศึกษา ศฝ.นศท.มทบ.21
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
(สร้างหน้าด้วย "'''แผนบทเรียน วิชาเหล่าทหารสื่อสาร ชั้นปีที่ 5 (ชาย) ปีการ...")
 
บรรทัดที่ 21: บรรทัดที่ 21:
 
:
 
:
  
'''ครูผู้ช่วย'''
+
'''ครูผู้ช่วย'''  
  
 +
1. จ.ส.อ.สุพจน์  แสนบุญศิริ
  
 +
2. จ.ส.อ.พระเทพ  แซ่ตัง
 
:
 
:
 
'''การจัดการสอน'''
 
'''การจัดการสอน'''
บรรทัดที่ 33: บรรทัดที่ 35:
 
!สถานที่สอน
 
!สถานที่สอน
 
!จำนวนนักเรียน
 
!จำนวนนักเรียน
!ครูผู้สอน
+
!ครูผู้สอน/ครูผู้ช่วย
 
|-
 
|-
 
|1
 
|1
 +
 +
 +
|1-3 พ.ย.66
 +
 +
 +
|0800 - 1700
 +
 +
 +
|มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
 +
 +
 
|
 
|
|
+
|1. ..กฤษณพงศ์  พงษ์พรรณา ครูผู้สอน
|รร.เพชรวิทยาคาร
+
2. ...สุพจน์  แสนบุญศิริ ผู้ช่วยครู
|
+
 
|ชุดครูฝึกที่ 1
+
3. ...พระเทพ  แซ่ตัง  ผู้ช่วยครู
|-
 
|2
 
|
 
|
 
|รร.บัวใหญ่
 
|
 
|ชุดครูฝึกที่ 2
 
|-
 
|3
 
|
 
|
 
|รร.บ้านท่าโป่ง
 
|
 
|ชุดครูฝึกที่ 1
 
|-
 
|4
 
|
 
|
 
|รร.พิมายวิทยา
 
|
 
|ชุดครูฝึกที่ 2
 
|-
 
|5
 
|
 
|
 
|รร.ปากช่อง
 
|
 
|ชุดครูฝึกที่ 1
 
|-
 
|6
 
|
 
|
 
|วษท.ชัยภูมิ
 
|
 
|ชุดครูฝึกที่ 2
 
|-
 
|7
 
|
 
|
 
|รร.จักราช
 
|
 
|ชุดครูฝึกที่ 1
 
|-
 
|8
 
|
 
|
 
|รร.ปักธงชัยประชานิรมิตร
 
|
 
|ชุดครูฝึกที่ 2
 
|-
 
|9
 
|
 
|
 
|รร.มัธยมด่านขุนทด
 
|
 
|ชุดครูฝึกที่ 2
 
|-
 
|10
 
|
 
|
 
|หน่วยฝึก ศฝ.นศท.มทบ.21 (กลุ่ม วันอังคาร)
 
|
 
|ชุดครูฝึกที่ 3
 
|-
 
|11
 
|
 
|
 
|หน่วยฝึก ศฝ.นศท.มทบ.21 (กลุ่ม วันพุธ)
 
|
 
|ชุดครูฝึกที่ 3
 
|-
 
|12
 
|
 
|
 
|หน่วยฝึก ศฝ.นศท.มทบ.21 (กลุ่ม วันพฤหัสบดี)
 
|
 
|ชุดครูฝึกที่ 3
 
|-
 
|13
 
|
 
|
 
|หน่วยฝึก ศฝ.นศท.มทบ.21 (กลุ่ม วันศุกร์)
 
|
 
|ชุดครูฝึกที่ 3
 
 
|}
 
|}
 
  
 
'''หลักฐานที่ใช้สอน'''
 
'''หลักฐานที่ใช้สอน'''
  
:1. คู่มือนักศึกษาวิชาทหารชาย ชั้นปีที่ (เหล่าทหารสื่อสาร)
+
:1. คู่มือนักศึกษาวิชาทหารชาย ชั้นปีที่ 5 (เหล่าทหารสื่อสาร)
  
 
:2. คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การสื่อสาร รส.24-5 พ.ศ.2535
 
:2. คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การสื่อสาร รส.24-5 พ.ศ.2535
บรรทัดที่ 139: บรรทัดที่ 67:
  
 
:5. แนวสอนวิชาการสื่อสารประเภทวิทยุ โรงเรียนทหารสื่อสาร พ.ศ.2559
 
:5. แนวสอนวิชาการสื่อสารประเภทวิทยุ โรงเรียนทหารสื่อสาร พ.ศ.2559
 
  
 
'''สื่อการเรียนการสอน/เครื่องช่วยฝึก'''
 
'''สื่อการเรียนการสอน/เครื่องช่วยฝึก'''
บรรทัดที่ 156: บรรทัดที่ 83:
  
 
:7. ชุดวิทยุ PRC-624
 
:7. ชุดวิทยุ PRC-624
 +
  
  
 
'''การแต่งกาย'''  ชุดฝึก
 
'''การแต่งกาย'''  ชุดฝึก
 
  
 
'''ความมุ่งหมาย'''
 
'''ความมุ่งหมาย'''
บรรทัดที่ 169: บรรทัดที่ 96:
 
:5. เพื่อให้ นศท. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคำสั่งทางการสื่อสาร และสามารถเขียนคำสั่งทางการสื่อสารได้
 
:5. เพื่อให้ นศท. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคำสั่งทางการสื่อสาร และสามารถเขียนคำสั่งทางการสื่อสารได้
 
:6. เพื่อให้ นศท. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสงครามอิเล็กทรอนิกส์
 
:6. เพื่อให้ นศท. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสงครามอิเล็กทรอนิกส์
 
  
 
'''จุดประสงค์การเรียนรู้'''
 
'''จุดประสงค์การเรียนรู้'''

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:51, 10 มิถุนายน 2566

แผนบทเรียน วิชาเหล่าทหารสื่อสาร ชั้นปีที่ 5 (ชาย) ปีการศึกษา 2566

เรื่อง

1. ภารกิจและการจัดหน่วยทหารสื่อสาร
2. ยูทโธปกรณ์ประเภทสาย
3. ยุทโธปกรณ์ประเภทวิทยุ
4. หลักนิยมการสื่อสารทางยุทธวิธี
5. คำสั่งทางการสื่อสาร
6. การสงครามอิเล็กทรินิกส์

วิชา เหล่าทหารสื่อสาร

ชั่วโมงสอนทั้งสิ้น 24 ชั่วโมง

หลักสูตร นศท. ชั้นปีที่ 5 (ชาย)

วิธีการสอน สด./ป.

ครู/อาจารย์ พ.ต.กฤษณพงศ์ พงษ์พรรณา

ครูผู้ช่วย

1. จ.ส.อ.สุพจน์ แสนบุญศิริ

2. จ.ส.อ.พระเทพ แซ่ตัง

การจัดการสอน

การสอนครั้งที่ วัน เดือน ปี เวลาที่สอน สถานที่สอน จำนวนนักเรียน ครูผู้สอน/ครูผู้ช่วย
1


1-3 พ.ย.66


0800 - 1700


มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี


1. พ.ต.กฤษณพงศ์ พงษ์พรรณา ครูผู้สอน

2. จ.ส.อ.สุพจน์ แสนบุญศิริ ผู้ช่วยครู

3. จ.ส.อ.พระเทพ แซ่ตัง ผู้ช่วยครู

หลักฐานที่ใช้สอน

1. คู่มือนักศึกษาวิชาทหารชาย ชั้นปีที่ 5 (เหล่าทหารสื่อสาร)
2. คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การสื่อสาร รส.24-5 พ.ศ.2535
3. คู่มือราชการสนามว่าด้วย เทคนิคการใช้วิทยุสนาม รส.24–18
4. คู่มือปฏิบัติการทางยุทธวิธีของกองทัพบก พ.ศ. 2555 ทหารสื่อสารสนับสนุนกองพล
5. แนวสอนวิชาการสื่อสารประเภทวิทยุ โรงเรียนทหารสื่อสาร พ.ศ.2559

สื่อการเรียนการสอน/เครื่องช่วยฝึก

1. เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมอุปกรณ์ ประกอบการเรียนการสอน PowerPoint
2. ครื่องฉายภาพโปรเจ้คเตอร์ พร้อมจอ
3. สายโทรศัพท์สนาม WD-1/TT
4. เครื่องโทรศัพท์ TA-1/PT, TA-312/PT
5. เครื่องสลับสายโทรศัพท์สนาม SB-993/GT
6. ชุดวิทยุ AN/PRC-77
7. ชุดวิทยุ PRC-624


การแต่งกาย ชุดฝึก

ความมุ่งหมาย

1. เพื่อให้ นศท. มีความรู้ความเข้าใจในภารกิจและการจัดหน่วยของเหล่าทหารสื่อสาร
2. เพื่อให้ นศท. มีความรู้ความเข้าใจในคุณลักษณะ ขีดความสามารถ และข้อจำกัดของเครื่องมือสื่อสารประเภทวิทยุ และเครื่องมือสื่อสารประเภทสาย รวมทั้งมีทักษะความสามารถในการติดตั้งและใช้งานอย่างถูกวิธี ๆ
3. เพื่อให้ นศท. มีความรู้ความเข้าใจและสามารถใช้งานชุดวิทยุ PRC-624 ชุดวิทยุ AN/PRC-77 สายโทรศัพท์สนาม WD-1/TT เครื่องโทรศัพท์ TA-1/PT เครื่องโทรศัพท์ TA-312/PT และ เครื่องสลับสายโทรศัพท์สนาม SB-993/GT ได้อย่างถูกต้อง
4. เพื่อให้ นศท. มีความรู้ความเข้าใจในหลักนิยมการสื่อสารทางยุทธวิธี และสามารถใช้มัชิฌิมการสื่อสารได้อย่างถูกต้อง
5. เพื่อให้ นศท. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคำสั่งทางการสื่อสาร และสามารถเขียนคำสั่งทางการสื่อสารได้
6. เพื่อให้ นศท. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสงครามอิเล็กทรอนิกส์

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. (ความรู้ : K) หลังจากจบการเรียนการสอนแล้ว นศท. ชั้นปีที่ 5 ชาย เหล่าทหารสื่อสารสาร มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องภารกิจและการจัดหน่วยของเหล่าทหารสื่อสาร ขีดความสามารถและข้อจำกัดของการสื่อสารประเภทวิทยุ และประเภทสาย มีความรู้ในเรื่องหลักนิยมการสื่อสารทางยุทธวิธี คำสั่งทางการสื่อสาร และการสงครามอิเล็กทรอนิกส์
2. (ทักษะ : P) หลังจากจบการเรียนการสอนแล้ว นศท. ชั้นปีที่ 5 ชาย เหล่าทหารสื่อสารสาร สามารถใช้งานชุดวิทยุ PRC-624 และชุดวิทยุ AN/PRC-77 สายโทรศัพท์สนาม WD-1/TT เครื่องโทรศัพท์ TA-1/PT เครื่องโทรศัพท์ TA-312/PT และ เครื่องสลับสายโทรศัพท์สนาม SB-993/GT ได้ และสมารถเลือกใช้มัชฌิมการสื่อสารทางยุทธวิธีตามหลักนิยมได้
3. (จิตใจ : A) หลังจากจบการเรียนการสอนแล้ว นศท. ชั้นปีที่ 5 ชาย เหล่าทหารสื่อสารสาร มีความตระหนักรู้ถึงความสำคัญของขีดความสามารถและข้อจำกัดของการสื่อสารประเภทวิทยุ และประเภทสาย ความสำคัญของคำสั่งการสื่อสาร และหลักของการสงครามอิล็กสืทรอนิกส์ สามารถเลือกใช้มัชฌิมการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม
หัวข้อการสอน
ชั่วโมงการสอน เรื่องที่ทำการสอน วิธีการสอน เวลา (นาที) หมายเหตุ
ชั่วโมงที่ 1 1. กล่าวนำ แนะนำตัว 5
2. ทดสอบก่อนเรียน 15
3. นำเข้าสู่บทเรียน กล่าวทั่วไป

- ความสำคัญของการติดต่อสื่อสาร

- องค์แทนการสื่อสาร

- มัชฌิมการสื่อสาร

(30 นาที)

10

10

10

4. พักประจำชั่วโมง 10
ชั่วโมงที่ 2 1. การสื่อสารประเภทสาย

- ขีดความสามารถและขีดจำกัดของการสื่อสารประเภทสาย

- สายโทรศัพท์สนาม WD-1/TT

- โทรศัพท์สนาม TA-1/PT

- โทรศัพท์สนาม TA-312/PT

- เครื่องสลับสายโทรศัพท์สนาม SB-993/GT

(50 นาที)

10

10

10

10

10

2. พักประจำชั่วโมง 10
ชั่วโมงที่ 3 1. การสื่อสารประเภทวิทยุ

- ชุดวิทยุ AN/PRC–77

- ชุดวิทยุ PRC–624

(50นาที)

25

25

2. พักประจำชั่วโมง 10
ชั่วโมงที่ 4 1. สาธิต/ฝึกปฏิบัติ

- การติดตั้งระบบการสื่อสารประเภทสาย

- การติดตั้งระบบการสื่อสารประเภทวิทยุ

(30 นาที)

15

15

2. ทำแบบทดสอบหลังเรียน 15
3. สรุปบทเรียน 5
4. พักประจำชั่วโมง 10


เอกสาร/คู่มือ/ตำราประกอบการสอน

1. แบบทดสอบก่อนเรียน
2. แบบทดสอบหลังเรียน
3. องค์แทนการสื่อสารและมัชฌิมการสื่อสาร
4. การสื่อสารประเภทสาย
5. การสื่อสารประเภทวิทยุ
บันทึกการสอนของครูผู้สอน
การสอนครั้งที่ ปัญหาข้อขัดข้อง ข้อเสนอแนะ ผู้บันทึก
1
2
3
4
5