วิชาเหล่าทหารสื่อสาร ชั้นปีที่ 5 (ชาย) - พ.ต.กฤษณพงศ์ พงษ์พรรณา

จาก ส่วนการศึกษา ศฝ.นศท.มทบ.21
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา

แผนบทเรียน วิชาเหล่าทหารสื่อสาร ชั้นปีที่ 5 (ชาย) ปีการศึกษา 2566

เรื่อง

1. ภารกิจและการจัดหน่วยทหารสื่อสาร
2. ยูทโธปกรณ์ประเภทสาย
3. ยุทโธปกรณ์ประเภทวิทยุ
4. หลักนิยมการสื่อสารทางยุทธวิธี
5. คำสั่งทางการสื่อสาร
6. การสงครามอิเล็กทรินิกส์

วิชา เหล่าทหารสื่อสาร

ชั่วโมงสอนทั้งสิ้น 24 ชั่วโมง

หลักสูตร นศท. ชั้นปีที่ 5 (ชาย)

วิธีการสอน สด./ป.

ครู/อาจารย์ พ.ต.กฤษณพงศ์ พงษ์พรรณา

ครูผู้ช่วย

1. จ.ส.อ.สุพจน์ แสนบุญศิริ

2. จ.ส.อ.พระเทพ แซ่ตัง

การจัดการสอน

การสอนครั้งที่ วัน เดือน ปี เวลาที่สอน สถานที่สอน จำนวนนักเรียน ครูผู้สอน/ครูผู้ช่วย
1


1-3 พ.ย.66


0800 - 1700


มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี


1. พ.ต.กฤษณพงศ์ พงษ์พรรณา ครูผู้สอน

2. จ.ส.อ.สุพจน์ แสนบุญศิริ ผู้ช่วยครู

3. จ.ส.อ.พระเทพ แซ่ตัง ผู้ช่วยครู

หลักฐานที่ใช้สอน

1. คู่มือนักศึกษาวิชาทหารชาย ชั้นปีที่ 5 (เหล่าทหารสื่อสาร)
2. คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย การสื่อสาร รส.24-5 พ.ศ.2535
3. คู่มือราชการสนามว่าด้วย เทคนิคการใช้วิทยุสนาม รส.24–18
4. คู่มือปฏิบัติการทางยุทธวิธีของกองทัพบก พ.ศ. 2555 ทหารสื่อสารสนับสนุนกองพล
5. แนวสอนวิชาการสื่อสารประเภทวิทยุ โรงเรียนทหารสื่อสาร พ.ศ.2559

สื่อการเรียนการสอน/เครื่องช่วยฝึก

1. เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมอุปกรณ์ ประกอบการเรียนการสอน PowerPoint
2. ครื่องฉายภาพโปรเจ้คเตอร์ พร้อมจอ
3. สายโทรศัพท์สนาม WD-1/TT
4. เครื่องโทรศัพท์ TA-1/PT, TA-312/PT
5. เครื่องสลับสายโทรศัพท์สนาม SB-993/GT
6. ชุดวิทยุ AN/PRC-77
7. ชุดวิทยุ PRC-624


การแต่งกาย ชุดฝึก

ความมุ่งหมาย

1. เพื่อให้ นศท. มีความรู้ความเข้าใจในภารกิจและการจัดหน่วยของเหล่าทหารสื่อสาร
2. เพื่อให้ นศท. มีความรู้ความเข้าใจในคุณลักษณะ ขีดความสามารถ และข้อจำกัดของเครื่องมือสื่อสารประเภทวิทยุ และเครื่องมือสื่อสารประเภทสาย รวมทั้งมีทักษะความสามารถในการติดตั้งและใช้งานอย่างถูกวิธี ๆ
3. เพื่อให้ นศท. มีความรู้ความเข้าใจและสามารถใช้งานชุดวิทยุ PRC-624 ชุดวิทยุ AN/PRC-77 สายโทรศัพท์สนาม WD-1/TT เครื่องโทรศัพท์ TA-1/PT เครื่องโทรศัพท์ TA-312/PT และ เครื่องสลับสายโทรศัพท์สนาม SB-993/GT ได้อย่างถูกต้อง
4. เพื่อให้ นศท. มีความรู้ความเข้าใจในหลักนิยมการสื่อสารทางยุทธวิธี และสามารถใช้มัชิฌิมการสื่อสารได้อย่างถูกต้อง
5. เพื่อให้ นศท. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคำสั่งทางการสื่อสาร และสามารถเขียนคำสั่งทางการสื่อสารได้
6. เพื่อให้ นศท. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสงครามอิเล็กทรอนิกส์

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. (ความรู้ : K) หลังจากจบการเรียนการสอนแล้ว นศท. ชั้นปีที่ 5 ชาย เหล่าทหารสื่อสารสาร มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องภารกิจและการจัดหน่วยของเหล่าทหารสื่อสาร ขีดความสามารถและข้อจำกัดของการสื่อสารประเภทวิทยุ และประเภทสาย มีความรู้ในเรื่องหลักนิยมการสื่อสารทางยุทธวิธี คำสั่งทางการสื่อสาร และการสงครามอิเล็กทรอนิกส์
2. (ทักษะ : P) หลังจากจบการเรียนการสอนแล้ว นศท. ชั้นปีที่ 5 ชาย เหล่าทหารสื่อสารสาร สามารถใช้งานชุดวิทยุ PRC-624 และชุดวิทยุ AN/PRC-77 สายโทรศัพท์สนาม WD-1/TT เครื่องโทรศัพท์ TA-1/PT เครื่องโทรศัพท์ TA-312/PT และ เครื่องสลับสายโทรศัพท์สนาม SB-993/GT ได้ และสมารถเลือกใช้มัชฌิมการสื่อสารทางยุทธวิธีตามหลักนิยมได้
3. (จิตใจ : A) หลังจากจบการเรียนการสอนแล้ว นศท. ชั้นปีที่ 5 ชาย เหล่าทหารสื่อสารสาร มีความตระหนักรู้ถึงความสำคัญของขีดความสามารถและข้อจำกัดของการสื่อสารประเภทวิทยุ และประเภทสาย ความสำคัญของคำสั่งการสื่อสาร และหลักของการสงครามอิล็กสืทรอนิกส์ สามารถเลือกใช้มัชฌิมการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม
หัวข้อการสอน
ชั่วโมงการสอน เรื่องที่ทำการสอน วิธีการสอน เวลา (นาที) หมายเหตุ
ชั่วโมงที่ 1 1. กล่าวนำ แนะนำตัว 5
2. ทดสอบก่อนเรียน 15
3. นำเข้าสู่บทเรียน กล่าวทั่วไป

- ความสำคัญของการติดต่อสื่อสาร

- องค์แทนการสื่อสาร

- มัชฌิมการสื่อสาร

(30 นาที)

10

10

10

4. พักประจำชั่วโมง 10
ชั่วโมงที่ 2 1. การสื่อสารประเภทสาย

- ขีดความสามารถและขีดจำกัดของการสื่อสารประเภทสาย

- สายโทรศัพท์สนาม WD-1/TT

- โทรศัพท์สนาม TA-1/PT

- โทรศัพท์สนาม TA-312/PT

- เครื่องสลับสายโทรศัพท์สนาม SB-993/GT

(50 นาที)

10

10

10

10

10

2. พักประจำชั่วโมง 10
ชั่วโมงที่ 3 1. การสื่อสารประเภทวิทยุ

- ชุดวิทยุ AN/PRC–77

- ชุดวิทยุ PRC–624

(50นาที)

25

25

2. พักประจำชั่วโมง 10
ชั่วโมงที่ 4 1. สาธิต/ฝึกปฏิบัติ

- การติดตั้งระบบการสื่อสารประเภทสาย

- การติดตั้งระบบการสื่อสารประเภทวิทยุ

(30 นาที)

15

15

2. ทำแบบทดสอบหลังเรียน 15
3. สรุปบทเรียน 5
4. พักประจำชั่วโมง 10


เอกสาร/คู่มือ/ตำราประกอบการสอน

1. แบบทดสอบก่อนเรียน (บันทึกไว้ใน Google Drive)
2. แบบทดสอบหลังเรียน (บันทึกไว้ใน Google Drive)
3. องค์แทนการสื่อสารและมัชฌิมการสื่อสาร (บันทึกไว้ใน Google Drive)
4. การสื่อสารประเภทสาย (บันทึกไว้ใน Google Drive)
5. การสื่อสารประเภทวิทยุ (บันทึกไว้ใน Google Drive)
บันทึกการสอนของครูผู้สอน
การสอนครั้งที่ ปัญหาข้อขัดข้อง ข้อเสนอแนะ ผู้บันทึก
1
2
3
4
5