ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิชาป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ชั้นปีที่ 1 - ร.ท.รังสิมันติ์ พิจิตร"
1360300068170 (คุย | ส่วนร่วม) |
1360300068170 (คุย | ส่วนร่วม) |
||
บรรทัดที่ 19: | บรรทัดที่ 19: | ||
:2. ร.ท.รังสิมันติ์ พิจิตร (ชุดครูฝึกที่ 2) | :2. ร.ท.รังสิมันติ์ พิจิตร (ชุดครูฝึกที่ 2) | ||
− | :3. ร. | + | :3. ร.ท.ฐิตินันท์ ศิริพัฒน์ (ชุดครูฝึกที่ 3) |
'''ครูผู้ช่วย''' | '''ครูผู้ช่วย''' | ||
รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:23, 1 กรกฎาคม 2566
แผนบทเรียน วิชาป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2566
เรื่อง
- 1. การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
- 2. การใช้เงื่อนเชือกในงานบรรเทาสาธารณภัย
วิชา ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ชั่วโมงสอนทั้งสิ้น 4 ชั่วโมง
หลักสูตร นศท. ชั้นปีที่ 1
วิธีการสอน สช. , สด. , ป.
ครู/อาจารย์
- 1. ร.อ.นาวี ศิริโชติ (ชุดครูฝึกที่ 1)
- 2. ร.ท.รังสิมันติ์ พิจิตร (ชุดครูฝึกที่ 2)
- 3. ร.ท.ฐิตินันท์ ศิริพัฒน์ (ชุดครูฝึกที่ 3)
ครูผู้ช่วย
- 1. จ.ส.อ.ศักดิ์สุดา จินดาภู (ชุดครูฝึกที่ 1)
- 2. จ.ส.ท.หญิง ศรารัตน์ ขวัญประกอบ (ชุดครูฝึกที่ 1)
- 3. จ.ส.อ.ธีระพงษ์ จันทมาลา (ชุดครูฝึกที่ 2)
- 4. ส.อ.ณัฐพงษ์ สุจริต (ชุดครูฝึกที่ 2)
- 5. จ.ส.ต. สุพศิน วงศ์เครือศร (ชุดครูฝึกที่ 3)
- 6. จ.ส.อ.พลรัตน์ จิไธสง (ชุดครูฝึกที่ 3)
การจัดการสอน
การสอนครั้งที่ | วัน เดือน ปี | เวลาที่สอน | สถานที่สอน | จำนวนนักเรียน | ครูผู้สอน |
---|---|---|---|---|---|
1 | รร.เพชรวิทยาคาร | ชุดครูฝึกที่ 1 | |||
2 | รร.บัวใหญ่ | ชุดครูฝึกที่ 2 | |||
3 | รร.บ้านท่าโป่ง | ชุดครูฝึกที่ 1 | |||
4 | รร.พิมายวิทยา | ชุดครูฝึกที่ 2 | |||
5 | รร.ปากช่อง | ชุดครูฝึกที่ 1 | |||
6 | วษท.ชัยภูมิ | ชุดครูฝึกที่ 2 | |||
7 | รร.จักราช | ชุดครูฝึกที่ 1 | |||
8 | รร.ปักธงชัยประชานิรมิตร | ชุดครูฝึกที่ 2 | |||
9 | รร.มัธยมด่านขุนทด | ชุดครูฝึกที่ 2 | |||
10 | หน่วยฝึก ศฝ.นศท.มทบ.21 (กลุ่ม วันอังคาร) | ชุดครูฝึกที่ 3 | |||
11 | หน่วยฝึก ศฝ.นศท.มทบ.21 (กลุ่ม วันพุธ) | ชุดครูฝึกที่ 3 | |||
12 | หน่วยฝึก ศฝ.นศท.มทบ.21 (กลุ่ม วันพฤหัสบดี) | ชุดครูฝึกที่ 3 | |||
13 | หน่วยฝึก ศฝ.นศท.มทบ.21 (กลุ่ม วันศุกร์) | ชุดครูฝึกที่ 3 |
หลักฐานที่ใช้สอน
- 1. คู่มือการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกระทรวงมหาดไทย
- 2. คู่มือการใช้ถังดับเพลิง และอุปกรณ์ดับเพลิง กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย
- 3. คู่มือนักศึกษาวิชาทหาร ประจำปี 2566
- 4. ข้อมูลอื่นๆ ตามที่กำหนดไว้ใน รปจ. ของหน่วย
สื่อการเรียนการสอน/เครื่องช่วยฝึก
- 1. เอกสารประกอบการบรรยาย (ชุด POWER POINT) คลิป VDO ให้ความรู้ และ QR code
- 2. อุปกรณ์เครื่องขยายเสียง
- 3. โต๊ะวางหลักฐานการฝึก และเก้าอี้
- 4. สมาร์ทโฟน (ของ นศท.)
- 5. ถาดฝึกซ้อมการดับเพลิง และหรือถังแก๊ส และถังดับเพลิง
- 6. เชือก (สำหรับสาธิตการผูกเงื่อนเชือก)
- 7. กระดาษฟลิปชาร์ท
- 8. ปากกาเมจิกหลากสี
การแต่งกาย ชุดฝึก
ความมุ่งหมาย
1. เพื่อให้ นศท. ทราบแหล่งกำเนิดและเข้าใจปัจจัยส่งเสริมความรุนแรงของอัคคีภัย
2. เพื่อให้ นศท. ทราบประเภทของไฟ และสัญลักษณ์ของไฟได้ถูกต้อง
3. เพื่อให้ นศท. ทราบวิธีปฏิบัติตนเมื่อเกิดเพลิงไหม้ และสามารถใช้ถังดับเพลิงได้อย่างถูกต้อง
4. เพื่อให้ นศท. เข้าใจและสามารถใช้เชือกในงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยได้ถูกต้อง
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. (ความรู้ : K) หลังจากเข้ารับการอบรมแล้ว นศท. มีความรู้ความเข้าใจเรื่องแหล่งกำเนิดของอัคคีภัยทราบประเภทของไฟ และสัญลักษณ์ของไฟได้ถูกต้องทราบวิธีปฏิบัติตนเมื่อเกิดเพลิงไหม้ และสามารถใช้ถังดับเพลิงได้อย่างถูกต้อง รวมถึงมีเข้าใจและสามารถใช้เชือกในงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยได้ถูกต้อง
2. (ทักษะ : P) หลังจากเข้ารับการอบรมแล้ว นศท. สามารถใช้ถังดับเพลิงได้อย่างถูกต้อง รวมถึงสามารถใช้เชือกในงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยได้ถูกต้อง
3. (จิตใจ : A) หลังจากเข้ารับการอบรมแล้ว นศท. มีความตระหนักรู้ถึงความสำคัญของการป้องกันเหตุอัคคีภัย และสามารถเลือกใช้ถังดับเพลิงได้อย่างถูกต้องเหมาะสม รวมทั้งเห็นถึงความสำคัญของการใช้เงื่อนเชือกในกรณีฉุกเฉิน และนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
หัวข้อการสอน
ลำดับการสอนการฝึก ชั้นปีที่ 1 (วิชาป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย)
ชั่วโมงการสอน | เรื่องที่ทำการสอน | วิธีการสอน | เวลา (นาที) | หมายเหตุ |
ชั่วโมงที่ 1 | การป้องกันและการระงับอัคคีภัย | กล่าวนำเข้าสู่บทเรียน
แนะนำตัว แจ้งวัตถุประสงค์ และวิธีการสอน บอกความมุ่งหมาย |
5 นาที | |
ทดสอบความรู้ นศท. (Pre Test) จำนวน 15 ข้อ | 20 นาที | |||
ครูผู้สอนประเมินผลความรู้ นศท. | 10 นาที | |||
แบ่งกลุ่ม นศท. 4 กลุ่ม ตามหัวข้อเรื่อง เพื่อสืบค้นข้อมูล หรือสรุปผลความรู้จากการเข้าร่วมอบรม และชมการสาธิตจากหน่วยงาน
- กลุ่มที่ 1 เรื่องแหล่งกำเนิดอัคคีภัย และทฤษฎีการเกิดเพลิงไหม้ - กลุ่มที่ 2 เรื่องประเภทของไฟ และการใช้ถังดับเพลิง - กลุ่มที่ 3 การผูกเงื่อนเชือก หมวดต่อเชือก และหมวดผูกแน่น ฉุดลาก รั้ง - กลุ่มที่ 4 การผูกเงื่อนเชือก หมวดช่วยชีวิต และการผูกเชือกบุคคลในการโรยตัว |
15 นาที | |||
พักประจำชั่วโมง | 10 นาที | |||
ชั่วโมงที่ 2 | 1. การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
2. การใช้เงื่อนเชือกในงานบรรเทาสาธารณภัย |
1. ให้ นศท. สแกน QR Code องค์ความรู้ที่จะให้ นศท. สืบค้น | 5 นาที | |
- ในกรณีเรียนในห้องเรียน ให้ นศท. สแกน QR Code องค์ความรู้ที่จะให้ นศท. สืบค้น และจากคู่มือ นศท. ชั้นปีที่ 1 ประจำปี 2566 โดยครูฝึก สามารถสอนเพิ่มเติมการปฏิบัติการผูกเงื่อนเชือกได้
- ในกรณีเชิญวิทยากรภายนอกมาอบรมให้ความรู้ และสาธิตการปฏิบัติ ให้ นศท. แต่ละกลุ่ม บันทึกความรู้ที่ได้ และจัดเตรียมตัวแทน ออกมา Present พร้อมทั้งรายละเอียดที่จะนำเสนอในชั่วโมงที่ 3 |
40 นาที | |||
พักประจำชั่วโมง | 10 นาที | |||
ชั่วโมงที่ 3 | นำเสนอผลการสืบค้นข้อมูลตามเนื้อหา วิชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย | - กลุ่มที่ 1 นำเสนอหัวข้อเรื่อง เรื่องแหล่งกำเนิดอัคคีภัย และทฤษฎีการเกิดเพลิงไหม้ | 15 นาที | |
- กลุ่มที่ 2 เรื่องประเภทของไฟ และการใช้ถังดับเพลิง | 15 นาที | |||
- กลุ่มที่ 3 การผูกเงื่อนเชือก หมวดต่อเชือก และหมวดผูกแน่น ฉุดลาก รั้ง | 10 นาที | |||
- กลุ่มที่ 4 การผูกเงื่อนเชือก หมวดช่วยชีวิต และการผูกเชือกบุคคลในการโรยตัว | 10 นาที | |||
พักประจำชั่วโมง | 10 นาที | |||
ชั่วโมงที่ 4 | สรุปและประมินผล | ครูสรุปและอธิบายเพิ่มเติมใน (Power Point) | 20 นาที | |
ทดสอบความรู้ นศท. (Post Test) จำนวน 15 ข้อ | 20 นาที | |||
ครูสรุปและประเมินผล | 10 นาที | |||
พักประจำชั่วโมง | 10 นาที |
เอกสาร/คู่มือ/ตำราประกอบการสอน
- 1. คู่มือนักศึกษาวิชาทหาร ชั้นปีที่ 1 ชาย,หญิง ประจำปี 2566 (PDF บันทึกไว้ใน Google Drive)
- 2. power point ประกอบการสอน โดยนำเนื้อหามาจากคู่มือนักศึกษาวิชาทหารชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2566
- 3. แบบทดสอบก่อนเรียน (ข้อมูลบันทึกใน Google Drive)
- 4. แบบทดสอบหลังเรียน (ข้อมูลบันทึกใน Google Drive)
ปีการศึกษา | ปัญหาข้อขัดข้อง | ข้อเสนอแนะ | ผู้บันทึก |
---|---|---|---|
2566 | |||
2567 | |||
2568 | |||
2569 | |||
2570 |