วิชาปฐมพยาบาลและเวชกรรมป้องกัน ชั้นปีที่ 1 - ร.ท.ฐิตินันท์ ศิริพัฒน์

จาก ส่วนการศึกษา ศฝ.นศท.มทบ.21
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา

แผนบทเรียน วิชา การปฐมพยาบาลและเวชกรรมป้องกัน จำนวน 4 ชั่วโมง

หลักสูตรนักศึกษาวิชาทหาร ชั้นปีที่ 1

เรื่อง

  การปัจจุบันพยาบาล อันตรายต่างๆ จากความร้อน  Heat Stoke

การวัดสัญญาณชีพ  Vital signs

การประเมินค่าผู้ป่วยเจ็บ    การเปิดทางเดินหายใจ

การปฏิบัติการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน ( การทำ CPR ผู้ใหญ่ กรณีผู้ช่วยชีวิต ๑ คน )                          

วิชา การปฐมพยาบาลและเวชกรรมป้องกัน

ชั่วโมงสอนทั้งสิ้น 4 ชั่วโมง

หลักสูตร นศท. ชั้นปีที่ 1 (หญิง)

วิธีการสอน สด./ป.

ครู/อาจารย์

  1. ร.ท.ฐิตินันท์ ศิริพัฒน์

ครูผู้ช่วย

1.จ.ส.อ.กฤษดา พงศ์สุวรรณ

2. จ.ส.อ.สุพจน์ แสนบุญศิริ

3. จ.ส.อ.ชยวิชญ์ ศรีผดุง

4. ส.อ.รัตนวงศ์ พลบุรณ์

การจัดการสอน

การสอนครั้งที่ วัน เดือน ปี เวลาที่สอน สถานที่สอน จำนวนนักเรียน ครูผู้สอน ครูผู้ช่วย/ผู้ช่วยครู
1



[- 1700|0800 - 1700]


ร.ท.ฐิตินันท์ ศิริพัฒน์


1. จ.ส.อ.กฤษดา พงศ์สุวรรณ

2. จ.ส.อ.สุพจน์ แสนบุญศิริ

3. จ.ส.อ.ชยวิชญ์ ศรีผดุง

4. ส.อ.รัตนวงศ์ พลบุรณ์

หลักฐานที่ใช้สอน

1. คู่มือนักศึกษาวิชาทหาร ชั้นปีที่ 1
2. ระเบียบหลักสูตรการฝึกตามหน้าที่ สำหรับฝึกอบรมพลทหารกองประจำการของเหล่าทหารแพทย์ (๘ สัปดาห์) พ.ศ.๒๕๖๒
3. คู่มือราชการสนาม ว่าด้วยการปฐมพยาบาลสำหรับทหาร รส.๒๑ – ๑๑ พ.ศ.๒๕๕๐

สื่อการเรียนการสอน/เครื่องช่วยฝึก

1. เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมอุปกรณ์ ประกอบการเรียนการสอน PowerPoint
2. ครื่องฉายภาพโปรเจ้คเตอร์ พร้อมจอ
3. เครื่องเสียง                                                   จำนวน    ๑  ชุด
4. หุ่นฝึกการทำ CPR แบบครึ่งตัว                       จำนวน ๑๒  ตัว
5. ชุดอุปกรณ์การวัดความดัน อุณหภูมิ ลมหายใจ            ตามสัดส่วนผู้เข้ารับการฝึกอบรม 6. ชุดอุปกรณ์โรคลมร้อน                                       ตามสัดส่วนผู้เข้ารับการฝึกอบรม 7. แบบบันทึกผลการตรวจสอบวิชาปฐมพยาบาล             จำนวน    ๑  ชุด



การแต่งกาย ชุดฝึก

ความมุ่งหมาย

เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้และทักษะการปฏิบัติที่ถูกต้องปลอดภัย ในเรื่องโรคลมร้อน การวัดสัญญาณชีพ การปฏิบัติในการช่วยหายใจการเปิดทางเดินหายใจ การประเมินค่าผู้ป่วยเจ็บ และการช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) จนเกิดความมั่นใจและมีความพร้อมในการเป็นจิตอาสาให้ความช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้ป่วยเจ็บในสถานการณ์ฉุกเฉินต่างๆ เพื่อประทังอาการจนกว่าจะได้รับการรักษาพยาบาลจากบุคลากรทางการแพทย์

จุดประสงค์การเรียนรู้

1.จะช่วยเสริมสร้างให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีลักษณะพึงประสงค์ตามความมุ่งหมายของหลักสูตร

2.มีจิตอาสาในการบำเพ็ญสาธารณประโยชน์ให้กับสังคม
3.มีความรู้ ทักษะ และทัศนคติ ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงานตามนโยบายการฝึกอบรมและการศึกษาของ ทบ.
ขอบเขตการฝึกอบรม และจำนวนชั่วโมงตามหลักสูตร ( ๔ ชม.)        ๑. โรคลมร้อน                                                         จำนวน  ๑ ชั่วโมง               ความรู้เรื่องโรคลมร้อน               อันตรายต่างๆจากโรคลมร้อน               การปฐมพยาบาลโรคลมร้อน         ๒. การวัดสัญญาณชีพ                                             จำนวน ๑  ชั่วโมง                การวัดอุณหภูมิ                การจับชีพจร                การหายใจ                การวัดความดันโลหิต         ๓. การปฏิบัติในการช่วยหายใจและการเปิดทางเดินหายใจ     จำนวน  ๑ ชั่วโมง                การเปิดทางเดินหายใจโดยทั่วไป                การเปิดทางเดินหายใจ กรณีกระดูกคอหัก          ๔. การประเมินค่าผู้ป่วยเจ็บ และฝึกปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) จำนวน  ๑ ชั่วโมง                ขั้นตอนการทำ (CPR) โดยผู้ช่วยชีวิต ๑ คน                 การใช้เครื่องกระตุ้นหัวใจด้วยไฟฟ้าอัตโนมัติ
ขั้นตอนการฝึกอบรม    ขั้นที่ ๑ การกล่าวนำ          หัวหน้าชุดครูฝึกอบรม         วิชาที่ฝึกอบรม         วัตถุประสงค์ของวิชาที่ฝึกอบรม         ประโยชน์ที่ได้รับจากการฝึกอบรม    ขั้นที่ ๒ การวัดความรู้ก่อนการฝึกอบรม (Pretest)    ขั้นที่ ๓ การฝึกอบรม         โดยการสอนเชิงประชุม         โดยการฝึกอบรมโดยการแสดงให้ดู         โดยการฝึกอบรมโดยการปฏิบัติ    ขั้นที่ ๔ การวัดความรู้หลังการฝึกอบรม (Posttest) และการประเมินผลในห้วงการฝึกอบรม    ขั้นที่ ๕ การสรุปผลการฝึกอบรม    ขั้นที่ ๖ การทำแบบประเมินผลการจัดการฝึกอบรม
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ Active Learning   
๑. การมีส่วนร่วมในการเรียนรู้โดยการตอบปัญหา แสดงความคิดเห็น หรือซักถามข้อสงสัย   
๒. การมีส่วนร่วมในการเรียนรู้โดยการฝึกปฏิบัติ
การใช้ Social Media สนับสนุนการฝึกอบรม   
๑. การใช้ LINE เป็นช่องทางเผยแพร่เนื้อหาวิชาหรือส่ง QR Code/Link ให้กับผู้เข้ารับการฝึกอบรม   
๒. การใช้ QR Code หรือ Link เป็นเครื่องมือให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเข้าถึงเนื้อวิชาหรือ Google Form   
๓. การใช้ Google Form สร้างปัญหาทดสอบ/สอบ และแบบประเมินผลการจัดการฝึกอบรม
การวัดความรู้ความสามารถของผู้เข้ารับการฝึกอบรม   
1.ก่อนการฝึกอบรม (Pretest) : ทำปัญหาทดสอบ แบบปรนัย ๑๐ ข้อ ใน Google Form ๒.หลังการฝึกอบรม (Posttest) : ทำปัญหาทดสอบ แบบปรนัย ๑๐ ข้อ ใน GoogleForm


เอกสาร/คู่มือ/ตำราประกอบการสอน

1. แบบทดสอบก่อนเรียน (PDF บันทึกไว้ใน Google Drive)
2. แบบทดสอบหลังเรียน (PDF บันทึกไว้ใน Google Drive)
บันทึกการสอนของครูผู้สอน
การสอนครั้งที่ ปัญหาข้อขัดข้อง ข้อเสนอแนะ ผู้บันทึก
1
2
3
4
5