วิชาปฐมพยาบาลและเวชกรรมป้องกัน ชั้นปีที่ 1 - ร.ท.ฐิตินันท์ ศิริพัฒน์

จาก ส่วนการศึกษา ศฝ.นศท.มทบ.21
รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:52, 15 มิถุนายน 2566 โดย 3320100051075 (คุย | ส่วนร่วม) (สร้างหน้าด้วย "'''แผนบทเรียน วิชา การปฐมพยาบาลและเวชกรรมป้องกัน จำนวน 8...")
(ต่าง) ←รุ่นแก้ไขก่อนหน้า | รุ่นแก้ไขล่าสุด (ต่าง) | รุ่นแก้ไขถัดไป→ (ต่าง)
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา

แผนบทเรียน วิชา การปฐมพยาบาลและเวชกรรมป้องกัน จำนวน 8 ชั่วโมง

หลักสูตรนักศึกษาวิชาทหาร ชั้นปีที่ 4

เรื่อง

1.หลักการควบคุมและป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ       จำนวน 1 ชั่วโมง 2.ความปลอดภัยและสุขภาพของผู้ปฏิบัติงาน         จำนวน 1 ชั่วโมง 3.การใช้ยาเบื้องต้น                                         จำนวน 1 ชั่วโมง 4.การดูแลผู้ป่วยมีบาดแผล                                จำนวน 1 ชั่วโมง 5.การดูแลผู้ป่วยภาวะกระดูกหัก                           จำนวน  1 ชั่วโมง 6.การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย (Lifting and Moving)          จำนวน  1 ชั่วโมง 7.การประเมินค่าผู้ป่วยเจ็บ และฝึกปฏิบัติการ            จำนวน  2 ชั่วโมง   ช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR)                                 

วิชา การปฐมพยาบาลและเวชกรรมป้องกัน

ชั่วโมงสอนทั้งสิ้น 8 ชั่วโมง

หลักสูตร นศท. ชั้นปีที่ 4 (หญิง)

วิธีการสอน สด./ป.

ครู/อาจารย์

  1. ร.ท.ฐิตินันท์ ศิริพัฒน์

ครูผู้ช่วย

1.จ.ส.อ.กฤษดา พงศ์สุวรรณ

2. จ.ส.อ.สุพจน์ แสนบุญศิริ

3. จ.ส.อ.ชยวิชญ์ ศรีผดุง

4. ส.อ.รัตนวงศ์ พลบุรณ์

การจัดการสอน

การสอนครั้งที่ วัน เดือน ปี เวลาที่สอน สถานที่สอน จำนวนนักเรียน ครูผู้สอน ครูผู้ช่วย/ผู้ช่วยครู
1


1-3 พ.ย.66


[- 1700|0800 - 1700] มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี


ร.ท.ฐิตินันท์ ศิริพัฒน์


1. จ.ส.อ.กฤษดา พงศ์สุวรรณ

2. จ.ส.อ.สุพจน์ แสนบุญศิริ

3. จ.ส.อ.ชยวิชญ์ ศรีผดุง

4. ส.อ.รัตนวงศ์ พลบุรณ์

หลักฐานที่ใช้สอน

1. คู่มือนักศึกษาวิชาทหารชาย ชั้นปีที่ 5 (เหล่าทหารสื่อสาร)
2. ระเบียบหลักสูตรการฝึกตามหน้าที่ สำหรับฝึกอบรมพลทหารกองประจำการของเหล่าทหารแพทย์ (๘ สัปดาห์) พ.ศ.๒๕๖๒ 3. คู่มือราชการสนาม ว่าด้วยการปฐมพยาบาลสำหรับทหาร รส.๒๑ – ๑๑ พ.ศ.๒๕๕๐

สื่อการเรียนการสอน/เครื่องช่วยฝึก

1. เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมอุปกรณ์ ประกอบการเรียนการสอน PowerPoint
2. ครื่องฉายภาพโปรเจ้คเตอร์ พร้อมจอ 3. เครื่องเสียง                                                   จำนวน    ๑  ชุด 4. หุ่นฝึกการทำ CPR แบบครึ่งตัว                       จำนวน ๑๒  ตัว
5. เครื่องช็อกไฟฟ้าหัวใจแบบอัตโนมัติ                 จำนวน    ๑  เครื่อง 6. ชุดอุปกรณ์ทำแผล                                     ตามสัดส่วนผู้เข้ารับการฝึกอบรม 7. ผ้าสามเหลี่ยม                                             ตามสัดส่วนผู้เข้ารับการฝึกอบรม 8. ไม้เฝือก                                                     ตามสัดส่วนผู้เข้ารับการฝึกอบรม   



การแต่งกาย ชุดฝึก

ความมุ่งหมาย

เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้และทักษะการปฏิบัติที่ถูกต้องปลอดภัย ในเรื่องหลักการควบคุมและป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ ความปลอดภัยและสุขภาพของผู้ปฏิบัติงาน การใช้ยาเบื้องต้น การดูแลผู้ป่วยมีบาดแผลและภาวะกระดูกหัก การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย (Lifting and Moving) และการช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) จนเกิดความมั่นใจและมีความพร้อมในการเป็นจิตอาสาให้ความช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้ป่วยเจ็บในสถานการณ์ฉุกเฉินต่างๆ เพื่อประทังอาการจนกว่าจะได้รับการรักษาพยาบาลจากบุคลากรทางการแพทย์

จุดประสงค์การเรียนรู้

1.จะช่วยเสริมสร้างให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีลักษณะพึงประสงค์ตามความมุ่งหมายของหลักสูตร

2.มีจิตอาสาในการบำเพ็ญสาธารณประโยชน์ให้กับสังคม
3.มีความรู้ ทักษะ และทัศนคติ ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงานตามนโยบายการฝึกอบรมและการศึกษาของ ทบ.
ขั้นตอนการฝึกอบรม ขั้นที่ ๑ การกล่าวนำ         ผู้ฝึกอบรม         วิชาที่ฝึกอบรม         วัตถุประสงค์ของวิชาที่ฝึกอบรม         ประโยชน์ที่ได้รับจากการฝึกอบรม  ขั้นที่ ๒ วัดความรู้ก่อนการฝึกอบรม  ขั้นที่ ๓ การฝึกอบรมโดยการสอนเชิงประชุม  ขั้นที่ ๔ การฝึกอบรมโดยการแสดงให้ดู  ขั้นที่ ๕ การฝึกอบรมโดยการปฏิบัติ  ขั้นที่ ๖ การวัดความรู้หลังการฝึกอบรม (ประเมินผลการฝึกอบรม)   ขั้นที่ ๗ การสรุปผลการฝึกอบรม   ขั้นที่ ๘ การทำแบบประเมินผลการจัดการฝึกอบรม รูปแบบการจัดการเรียนรู้ Active Learning    ๑. การมีส่วนร่วมในการเรียนรู้โดยการตอบปัญหา แสดงความคิดเห็น หรือซักถามข้อสงสัย    ๒. การมีส่วนร่วมในการเรียนรู้โดยการฝึกปฏิบัติ การใช้ Social Media สนับสนุนการฝึกอบรม    ๑. การใช้ LINE เป็นช่องทางเผยแพร่เนื้อหาวิชาหรือส่ง QR Code/Link ให้กับผู้เข้ารับการฝึกอบรม    ๒. การใช้ QR Code หรือ Link เป็นเครื่องมือให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเข้าถึงเนื้อวิชาหรือ Google Form    ๓. การใช้ Google Form สร้างปัญหาทดสอบ/สอบ และแบบประเมินผลการจัดการฝึกอบรม
การวัดความรู้ความสามารถของผู้เข้ารับการฝึกอบรม     ๑. ก่อนการฝึกอบรม : ใช้การทำปัญหาทดสอบแบบปรนัย จำนวน ๑๐ ข้อ ใน Google Form     ๒. หลังการฝึกอบรม : ใช้การทำปัญหาทดสอบแบบปรนัย จำนวน ๑๐ ข้อ ใน Google Form     ๓. ในห้วงการฝึกอบรม : ใช้การตรวจสอบการปฏิบัติในเรื่องที่ฝึกอบรม     ๔. นอกห้วงการฝึกอบรม : ใช้การทำปัญหาสอบแบบปรนัย จำนวน ๓๐ ข้อ ตามกำหนดการสอบ
ปัญหาสอบแบบปรนัย : จำนวน ๓๐ ข้อ การให้คะแนนสอบ จำนวน ๑๐๐ คะแนน      ๑. เวลาและความตั้งใจในการฝึกอบรม                         จำนวน  ๑๐  คะแนน      ๒. การวัดความสามารถในห้วงการฝึกอบรมตาม   จำนวน  ๓๐  คะแนน      ๓. การวัดความรู้นอกห้วงการฝึกอบรมตามข้อ         จำนวน  ๖๐  คะแนน


เอกสาร/คู่มือ/ตำราประกอบการสอน

1. แบบทดสอบก่อนเรียน (PDF บันทึกไว้ใน Google Drive)
2. แบบทดสอบหลังเรียน (PDF บันทึกไว้ใน Google Drive)
บันทึกการสอนของครูผู้สอน
การสอนครั้งที่ ปัญหาข้อขัดข้อง ข้อเสนอแนะ ผู้บันทึก
1
2
3
4
5